เฟิร์น
ชื่อวิทยาศาสตร์
|
:
|
Giant fern |
ถิ่นกำเนิด
|
:
|
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ |
วงษ์
|
:
|
MARATTIACEAE |
ลักษณะ
|
:
|
พืชกลุ่มเฟิร์น ต้นมีขนาดใหญ่ โคนต้นพอง มีหัวอยู่ใต้ดิน สีน้ำตาลเข้ม |
ใบ
|
:
|
ใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้น ใบย่อยรูปใบหอก ปลายแหลม โคนเบี้ยว ขอบจักฟันเลื่อย สีเขียวเข้ม ด้านบนผิวเป็นมัน ด้านล่างใบสีเขียวอ่อน หูใบคล้ายกีบเท้าสัตว์หนาแข็ง กลุ่มอับสปอร์ สร้างอัปสปอร์บริเวณท้องใบ |
การดูแลรักษา
|
||
ดิน
|
:
|
ดินร่วนปนทราย ต้องการน้ำมาก ชอบแดดรำไร |
การขยายพันธุ์
|
:
|
เพาะสปอร์ ตัดชำหูใบ |
ประโยชน์
|
:
|
ปลูกประดับ และใช้เป็นพืชสมุนไพร |
จัดเป็นพืชชั้นต่ำหรือพืชไร้ดอก ที่มีวิวัฒนาการมานานกว่า 400 ล้านปี เฟินช่วยสร้างความชุ่มชื้นให้กับพื้นโลก ทำให้เกิดสิ่งมีชีวิต เช่น สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ พืชมีดอกและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ในเวลาต่อมา จึงกล่าวได้ว่า เฟินเป็นต้นกำเนิดของไม้ประดับในปัจจุบัน เฟินเป็นไม้ประดับที่แตกต่างจากไม้ประดับอื่นๆ โดยเฟินมีรากฝอยที่เจริญอยู่ตามผิวดิน ซอกผาหินหรือต้นไม้ใหม่ ดูดซับธาตุอาหารได้ดี และยึดเกาะกับพื้นดินได้อย่างมั่นคง ลำต้นเฟิน มีลักษณะลำต้นหลายแบบ ทั้งแบบลำต้นสูงใหญ่ บางชนิดมีลำต้นอยู่ใต้ดิน บางชนิดลำต้นเป็นเหง้าทอดเลื้อยไปตามผิวดิน อีกจำนวนไม่น้อยที่มีลำต้นเลื้อยไปได้ไกล ใบผลิจากตาที่ปลายยอดของลำต้น มีใบอ่อนม้วนงอ อวบน้ำและเปราะง่าย แต่ละชนิดก็มีรูปทรง สีสัน ขนาดต่างๆ กันไป